Archive

Archive for พฤศจิกายน, 2011

Nvu โปรแกรมพัฒนาเว็บไซต์ด้วยภาษา HTML

พฤศจิกายน 24, 2011 ใส่ความเห็น

Nvu (อ่านว่า “เอ็น-วิว”) เป็นโปรแกรมแก้ไขเอกสาร HTML แบบ WYSIWYG โดยมีพื้นฐานจาก Mozilla Composer หนึ่งในชุด Mozilla Application Suite ซึ่ง Nvu เป็นโปรแกรมประเภท Opensource คล้ายกับโปรแกรมแก้ไขเอกสาร HTML ตามท้องตลาด เช่น Micromedia Dramwaver  หรือ Microsoft FrontPage การใช้งานง่ายสามารถปรับแต่งได้หลายรูปแบบไม่ว่าจะเป็นการใช้แบบ Normal ซึ่งสามารถเพิ่มออฟเจ็ตต่างๆได้เลยจากเมนู หรือจะทำการเขียนโค๊ด HTML และทำการปรับแต่ง อัฟโหลดขึ้น Host ของเราได้เลยโดยทำการเชื่อมต่อการติดต่อ ก็จะสามารถปรับแก้เว็บไซต์ของเราที่อยู่บน Host จริงได้เลย เพิ่มความสะดวกในการใช้งาน

อ่านเพิ่มเติม…

หมวดหมู่:คุย....Programming

ติดตั้ง OpenCMS 7

พฤศจิกายน 23, 2011 1 ความเห็น

สำหรับการติดตั้งเพื่อใช้งาน OpenCMS7 สามารถติดตั้งบนระบบปฏิบัติการ windows, Linux, Fedora, Ubuntu หรือ FreeBSD แล้วแต่ความจำเป็นของผู้ใช้งานที่มีเครื่อง server ที่ลงระบบปฏิบัติการแล้ว OpenCMS7 จะพัฒนามาจากพื้นฐานของ JSP (Java Server Page) การพัฒนาโดยการผสมผสานระหว่าง JSP กับ XML ทำให้โปรแกรมมีความยืดหยุ่นสูง ใช้งานง่าย

อ่านเพิ่มเติม…

Share File Samba บน Ubuntu

พฤศจิกายน 16, 2011 ใส่ความเห็น

เมื่อองค์กรของเราต้องการใช้งานไฟล์ผ่านระบบปฏิบัติการ Linux โดยเฉพาะ Ubunutu เราทำการ Share File , Share Internet และ Share Printer เริ่มจากเครื่องที่ต้องการ แชร์ไฟร์ ใช้ อูบันตู สร้าง folder อะไรก็ได้ที่ได้ตั้งไว้เพื่อเก็บไฟล์ต่างๆ และต้องการจะแชร์ เครื่องอื่นที่ใช้ ubuntu หรือ Windows ต้องสามารถมองเห็นโฟลเดอร์แชร์ด้วย การเข้าใช้งานไม่ต้องมี username , password เน้นง่ายที่สุด

อ่านเพิ่มเติม…

หมวดหมู่:คุย...Ubuntu

Windows Azure Platform Cloud

พฤศจิกายน 15, 2011 ใส่ความเห็น

OS (Operating System) ระบบปฏิบัติการใหม่ขอทาง Microsoft บางคนก็บอกว่ามันคือ Cloud Services หรือที่เราเรียกว่าบริการกลุ่มเมฆ เหมือน Application ที่ทำงานบน Browser Base อย่างตระกูล Google App Engine, Zoho, Amazon ถึงขั้นที่บางราย คิดว่าเป็น Data Center หรือ Model รูปแบบสถาปัตยกรรม SOA (SOAP, HTTP, Web Services)เลยทีเดียว

อ่านเพิ่มเติม…

หมวดหมู่:คุย.....Cloud

Android 3.0 น๊อก iOS 4

พฤศจิกายน 6, 2011 ใส่ความเห็น

ในขณะที่ iPhone 4 ของแอปเปิ้ลกำลังจะที่วิพากษ์วิจารณ์กันอย่างสนุกปากจนแทบจะครองพื้นที่สื่อ อยู่นั้น กูเกิลในฐาน iPhone Killer มีหรือจะยอมให้ Android ตกพื้นที่สื่อไปได้ ณ วันนี้มีหลุดสเป็กของ Android 3.0 (GingerBread) หรือจากเดิมที่คาดว่าจะเป็น Androod 2.3 มาดังนี้ 1. ซีพียู 1 กิกะเฮิตรซ์ และแรม 512 เมกะไบต์ (ซึ่งข่าวล่ามาเร็วซีพียูของมือถือกำลังจะขึ้นไปที่ 2 กิกะเฮิตรซ์) และขนาดในการแสดงผลจะอยู่ที่ 3.5 นิ้วเป็นอย่างน้อย 2. เพิ่มความ ละเอียดหน้าจอ 1280 x 760 สำหรับการแสดงผลที่ขนาดจอ 4 นิ้วหรือมากกว่า 3. ปรับ แต่งอินเทอร์เฟซใหม่ให้เข้าท่ากว่าเดิมแต่จะไม่ยอมให้ผู้ผลิตใส่ UI ของตัวเอง คาดว่าจะเสร็จสมบูรณ์ได้ในช่วงกลางๆ เดือนตุลาคม และน่าจะวางจำหน่ายพร้อมกับโทรศัพท์ในช่วงคริสมาสต์ได้ทันพอดี โดยกูเกิ้ลตั้งเป้าไว้ว่า Android 3.0 จะทำตลาดสำหรับมือถือไฮเอนด์ และตลาดระดับล่างๆ

อ่านเพิ่มเติม…

หมวดหมู่:คุย....Android, คุย..ไอที

พื้นฐานของเทคโนโลยี Grid Computing

พฤศจิกายน 3, 2011 ใส่ความเห็น

เป็นเทคโนโลยี(Grid Technology) หรือนวัตกรรม(Innovation) ที่ได้ผ่านการวิจัยและพัฒนาขึ้นมา เพื่อให้ระบบทำการคำนวณหรือ
ประมวลผลข้อมูลที่ซับซ้อน ด้วยสมรรถนะสูง โดยได้จัดเอาทรัพยากรด้านคำนวณหรือทรัพยากรประมวลผลด้านคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ มาทำการต่อเชื่อมโยงให้ถึงกัน ให้ทำงานร่วมกันเป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่เพียงระบบเดียว ในรูปแบบของ Grid เพื่อทำการคำนวณหรือประมวลผลข้อมูลพร้อมกันในเวลาเดียวกัน โอนถ่ายข้อมูลระหว่างกัน ไม่ว่าทรัพยากรดังกล่าวจะมีลักษณะแตกต่างกัน รุ่นเก่า หรือรุ่นใหม่ ไม่ได้ใช้งานบางช่วงเวลา หรือไม่ถูกใช้งาน จะอยู่ใน Cluster เดียวกัน หรืออยู่คนละ Cluster อยู่ในสถานที่คนละแห่งที่ห่างไกลกันแค่ไหน ก็สามารถจะทำการประมวลผลร่วมกันได้ โดยระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ระบบเดียวที่ได้ดังกล่าวนี้ จะทำงานเสมือน เป็น ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่เครื่องเดียว ที่มีราคาต้นทุนต่ำ ประมวลผลข้อมูลตามแบบของ Grid Computing คือจัดให้ประมวลผลแบบขนาน(Parallel Processing หรือ Parallel Computing)เพื่อให้ทำงานพร้อมกัน หากส่วนใดในระบบขัดข้องหรือไม่ทำงาน ระบบก็ยังทำงานต่อไปได้ เพราะมีซอฟต์แวร์กลางพิเศษช่วยจัดการดูแลตรวจสอบสถานะของระบบกริดตลอดเวลา ซึ่งเรียกว่า Middleware

อ่านเพิ่มเติม…

Rule-Enhanced Domain Models for Cloud Security Governance, Risk and Compliance Management

พฤศจิกายน 1, 2011 ใส่ความเห็น

Abstract

As security is essential for the adoption of cloud computing, several standards defining security domains, related threats and controls are being established. The common goal is to enable cloud security specific IT governance for cloud providers and client enterprises alike. The ensuing mandatory control objectives and control processes must cover regulatory compliance and risk management in view of the growing public sector and industry demand for cloud computing services. As of today, most of these standards are represented in textual or semi-structured form. However, the growing adoption of cloud computing calls for tool-supported monitoring and auditing. This paper shows how this can be accomplished based on a domain modelling approach that includes definitions and processing components for rules corresponding to control objectives and various aspects of control processes. (อ้างอิง

Lecture Notes in Computer Science, 2011, Volume 7018/2011, 2-9, DOI: 10.1007/978-3-642-24908-2_2

)

An Investigation on Applications of Cloud Computing in Scientific Computing

พฤศจิกายน 1, 2011 ใส่ความเห็น

Abstract

In recent years, “cloud computing” is one of the most popular terminologies in computer society. Many IT providers and enterprises are eager to move closer to “cloud” in order to solve the current bottlenecks encountered in various fields such as scientific computing. In common, scientific computing needs a huge number of computers available to perform large-scale experiments. These should not only require enormous money to construct, but also need a lot of follow-up time and manpower to maintain and operate. Cloud computing provides a new computing pattern for scientific computing, which could make scientists dynamically access to computing infrastructure on demand, such as computing, storage resources and applications. The emergence of this new computing pattern has brought new opportunities and challenges for computational science. This thesis starts with the introduction of cloud computing, and then probes into the application prospect and results of cloud computing in scientific computing.
(อ้างอิง :Huiying Chen, Feng Wang and Hui Deng.
Communications in Computer and Information Science, 2011, Volume 235, 201-206, DOI: 10.1007/978-3-642-24022-5_33)